วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

พระสงฆ์

  พระสงฆ์ หมายถึง หมู่สาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ซึ่งฟังคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วเลื่อมใส สละเรือนออกบวช ถือวัตร ปฏิบัติ ตามพระธรรมวินัยที่พระบรมศาสดาสั่งสอนและกำหนดไว้
พระสงฆ์ จัดเป็นหนึ่งในพระรัตนตรัย ซึ่งได้แก่ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ในพระรัตนตรัยหมายถึงเฉพาะพระอริยสงฆ์[1] คือบุคคลไม่ว่าคฤหัสถ์หรือนักบวช และไม่ว่ามนุษย์หรือเทวดา ที่ปฏิบัติธรรมจนได้บรรลุมรรคผล แต่โดยทั่วไปมักเข้าใจว่าพระสงฆ์คือภิกษุหรือภิกษุณี คือม อ่านเพิ่มเติม

พระธรรม

พระธรรม'[1] หมายถึงธรรมะซึ่งพระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำออกเผยแผ่ หรือคำสอนของพระพุทธเจ้า เกี่ยวกับความจริงตามธรรมชาติของทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นแต่เริ่มสืบทอดกันด้วยวิธีท่องจำแบบปากต่อปาก เรียกว่า "มุขปาฐะ" สมัยต่อมาจึงได้มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ที่บันทึกพระธรรมของพระพุทธเจ้านั้น เรียกว่า พระไตรปิฎก และยังมีคัมภีร์อื่นๆ ที่แต่งภายหลังเพื่อขยายความอีก ได้แ อ่านเพิ่มเติม 


พระไตรปิฏกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎก คือ คัมภีร์ที่รวบรวมคำสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวดหมู่ โดยในสมัยพุทธกาล
จะใช้คำว่า "พระธรรมวินัย" โดยคำว่า พระไตรปิฎก ได้เกิดขึ้นหลังการสังคายนา ครั้งที่ 2
พระไตรปิฎกประกอบด้วย 3 หมวด คือ
1.พระวินัยปิฎก ว่าด้วยพระวินัยสิกขาบทต่าง ๆ ของภิกษุและภิกษุณี
2.พระสุตตันตปิฎกว่าด้วยพระสูตรซึ่งเป็นพระธรรมเทศนาข อ่านเพิ่มเติม

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ

หลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันธรรมสวนะและเทศกาล
วันมาฆบูชา

 วันมาฆบูชา เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 มีเหตุการณ์อัศจรรย์ที่พระสงฆ์สาวกของพระพุทธเจ้าจำนวน 1,250 รูป มาเฝ้าพระพุทธเจ้า ณ วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ โดยมิได้นัดหมายกัน พระสงฆ์ทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ ผู้ได้อภิญญา 6 และเป็นผู้ที่ได้รับการอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้า ในวันนี้พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงหลักธรรมที่ชื่อว่า โอวาทปาติโมกข์ในที่ประชุมสงฆ์เหล่านั้น ซึ่งเป็นทั้งหลักการ อุดมการณ์ และวิธีก อ่านเพิ่มเติม


วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2559

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

     วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
หน่วยที่ ๒
๑.วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันที่ชาวพุทธทั่วโลกยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญเกี่ยวข้องโดยตรงกับพระรัตนตรัย และเหตุการณ์สำคัญอื่น ๆ ในรอบหนึ่งปีกำหนดไว้ ๖ วัน คือ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และวันอ อ่านเพิ่มเติม

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา
พุทธจริยา หรือการทรงบำเพ็ญประโยชน์ของพระพุทธเจ้าในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มี 3 ประการคือ 
1. โลกัตถจริยา พระพุทธจริยาเพื่อบำเพ็ญประโยชน์แก่โลก ตัวอย่างเช่น พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญพุทธกิจ 5 ประการ เพื่อประโยชน์สุขแก่สรรพสัตว์ ตลอดจนพระชมม์ชีพของพระองค์ดังนี้ 
1.1 ปุเรภัตตกิจ พุทธกิจภาคเช้าหรือภาคก่อนอาหาร ทรงตื่นพระบรรทมแต่เช้าเสด็จออกบิณฑบาตเสวยแล้ว ทรงแสดงธรรมโปรดประชาชนในที่นั้นๆ เสด็จกลับพระวิหาร รอให้พระสงฆ์ฉั อ่านเพิ่มเติม

วิธีการสอนของพระพุทธเจ้า

              วิธีสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าได้รับยกย่องว่า  ทรงเป็น “ พระบรมครู ”  หรือ “ ศาสดาเอก ”  ในโลกเพราะพระองค์ทรงมีวิธีสอนที่ดีเยี่ยม  ทำให้ผู้ฟังเข้าใจแจ่มแจ้ง  มีคำกล่าวว่า  ถ้าพระพุทธองค์ทรงตัดสินพระทัยจะแสดงธรรมโปรดใคร  เขาผู้นั้นย่อมได้บรรลุมรรคผลไม่ระดับใดก็ระดับหนึ่ง  ในพระไตรปิฎกได้กล่าวถึงวิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมทั้งโดยตรงและโดยอ้อม  ในที่นี้กล่าวถึง  หลักการสอน  วิธีสอนธรรม  และเทคนิควิธีสอนธรรมของพระพุทธองค์โดยสังเข อ่านเพิ่มเติม

พุทธประวัตและชาดก

       พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกตัววอย่างและชาดก
1 พุทธประวัติ
2 ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา
3 ศาสนิกชนตัวอย่าง
4 ชาดก
1 พุทธประวัติ
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับพุทธประวัติในด้านการตรัสรู้และการก่อตั้งพระพุทธศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ามาแล้ว ส่วนในระดับชั้นนี้นักเรียนจะได้ศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการสอนของพระพุทธเจ้าและการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยาเพื่อที่จะได้น้อมนำมาเป็นแนวทางในการศึกษาและปฎิบัติต่  อ่านเพิ่มเติม

พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง

ข้อปฏิบัติที่เป็นทางสายกลางในพระพุทธศาสนา
   พระพุทธศาสนา มีคำสอนเป็นกลางและข้อปฏิบัติก็เป็นสายกลางเรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทาเป็นข้อปฏิบัติที่ไม่ตึง ไม่หย่อนเกินไป ผู้ปฏิบัติจะไปสู่จุดหมายแห่งความมีชีวิตที่ดีงามได้ก็ด้วยการปฏิบัติ อริยมรรคมีองค์ 83 ซึ่งประกอบไปด้วย
   1. สัมมาทิฎฐิ (เห็นชอบ) คือเห็นสิ่งทั้งหลายตามที่เป็นจริงเห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เห็นว่าสวรรค์นรกมีจริง เป็นต้น
   2. สัมมาสังกัปปะ (ดำริชอบ) คือการนึกคิดในสิ่งที่ถูกต้อง คิดออกจากความยึดติดในกามารมณ์ คิดที่จะปราศจากโลภ ไม่พยาบาทปองร้ายผู้อื่ อ่านเพิ่มเติม

ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

                ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและข้อปฏิบัติที่ยึดถือทางสายกลางตามหลักพระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล
 พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการคือ
 1. ทุกข์ (ความไม่สบายกายและใจ) สอนว่า  “  ชีวิต และโลก นี้มีปัญหาอะไรบ้าง ”
 2. สมุทัย (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์) สอนว่า  “ ปัญหาต่าง ๆ  ที่เกิดขึ้นมีส อ่านเพิ่มเติม